เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช

อัปเดตล่าสุดเมื่อ:2022-03-07 00:00:00

เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช

ผู้แต่ง : กิตติพัฒน์ อุโฆษกิจ

สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปีพิมพ์ : 2564

พิมพ์ครั้งที่: 1


ประชากรโลกได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในขณะที่พื้นที่ ผลิตอาหารกลับลดลง อันเนื่องจากการขยายพื้นที่ อุุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย ขณะเดียวกันพื้นดินที่ ไม่เหมาะสมต่อการเกษตรกรรมมีมากขึ้น เกิดจากสภาวะเครียดต่างๆ ทั้งปัจจัยจากธรรมชาติที่ไม่เหมาะสม (abiotic stress) และปัจจัยที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูพืช (biotic stress) ปัจจุุบันนี้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี บทบาทสำคัญในการสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ การปรับปรุุงพันธุ์พืชเพื่อให้ได้พืชที่มีลักษณะดี ตอบสนองทันต่อความต้องการของสังคม จึงต้องการกระบวนการที่มีความแม่นยำลดระยะเวลาและทรัพยากรในการใช้พัฒนาพืชพันธุ์ใหม่.



ตรวจสอบสถานะทรัพยากรสารสนเทศในระบบ